ทหารนอกป้อมสะพานช้างโรงสี

Friday, October 30, 2009



ถ้าอยากเห็นหนุ่มน้อย หนุ่มใหญ่ กล้ามเป็นมัดๆ และทหารในเครื่องแบบ ทั้งเต็มยศและครึ่งท่อน ที่ตรงนี้ก็ไม่ควรพลาดที่จะชะลอรถเพื่อสังเกตการณ์ สอด และส่องหนุ่มๆวังสราญรมณ์ บริเวณสะพานช้างโรงสีคั้บ ตรงหัวโค้งกลาโหมส่วนหน้า ไล่ลงไปจนถึงห้วโค้งกลาโหมส่วนหลัง ทางไปกระทรวงมหาดไทยนั่นแหละคั้บ ตรงค่อนไปทางโค้งส่วนหลัง ก็จะมีหนุ่มๆกลุ่มหนุ่มมายืนมานั่งประจำ มีทหารด้วยขอบอก อะอะ รู้นะคิดไรอยู่ ตรงหัวโค้งจะมีประจำอยู่ สามสี่คน และก็มีขาจรเปลี่ยนหน้ามาเรื่อยๆ บริเวณโค้งด้านหลังนี้ ผู้ชายคั้บ ค่อนข้างเยอะ หมายถึงเฉพาะตรงหัวโค้งนะคั้บส่วนฝั่งตรงข้ามคลองหลอดด้านกระทรวงมหาดไทย อันนี้ไม่แน่นอนคั้บ บางวันที่ชายมายืน บางคืนมีสาวๆนิดมานั่งยิ้ม แต่บางวัน มาชุดนักเรียนเกงน้ำเงินมาเลยก็มี ฝั่งนี้จะพูดถึงวันหลังแล้วกันนะคั้บ มาพูดถึงคอสะพานช้างโรงสีกันต่อดีกว่า

ถ้าถามว่าทำไมสะพานช้างโรงสีตรงนี้มีทหารมายืนบ่อยซะเหลือเกิน จนเรียกว่าเป็นกลุ่มของทหารอีกกลุ่มหนึ่ง ผมคิดว่า อาจเป็นเพราะ ติดกระทรวงกลาโหม มีทหารเฝ้าเวร และทหารออกเวณอยุ่ และบริเวณนั้น อยู่ค่อนไปทางหลังกระทรวง ไม่ประเจิดประเจ้อนัก เพราะถ้าให้ใส่ชุดทหารไปยืน แถวถนนสนามไชยส่วนหน้า มีหวัง ดังแน่ๆ บริเณซอกหลืบ จึงเป็นที่นิยมยืนของทหารคั้บ สังเกตุมั้ยคั้บ อีกอย่าง เวลากลางคืน ทหารจะออกเดินตรวจความเรียบรอบบริเวณรอบๆกระทรวง หรือบริเวณรอบๆที่ที่ตังเองรับผิดชอบอยู่ นั่นจึงเป็นอีกเหตุผลนึงที่ทหารแว็บออกมาโชว์ได้บ้าง แต่บางคนออกเวณแล้วก็มายืนต่อเลย พวกทหารตำรวจไม่ค่อยอยากยุ่งด้วยอยู่แล้ว คนละส่วนกันนิ
แต่ใช่ว่าทหารเดินเวรจะมาขายตัวกันทุกคนนะคั้บ ขอย้ำว่าแค่บางคน บางส่วนนะคั้บลองๆซุ่มจอดรถถามดู เขาคงไม่ไล่กระทืบเราหรอกคั้บ
อยากได้ผู้ชายแมนๆ ทหารแมนๆ อย่าลืมแวะสะพ่นช้างโรงสีนะคั้บ
ปล.ไม่รับประกันความแมนในบางวัน เพราะอาจมีขาจรมายืนด้วย ยังงัย เวลาเลือกก็ดูเอาเองละกันนะคั้บ อย่าหาว่าไม่เตือน ผู้ชายขายตัวอย่างเราๆ มีหลายรูปแบบคั้บ

สะพาน ช้างโรงสี

สร้างในสมัย : รัชกาลที่ 5

ใน ยุคสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น เมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครของเรานั้น มีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ เพื่อให้เป็นไปตามแผนการสร้างเมืองอารยธรรม ให้ใกล้เคียงกับชาติตะวันตก ที่ในขณะนั้นได้ส่งผลกระทบต่อ ดินแดนแถบอุษาคเนย์ กันถ้วนทั่ว ดังนั้นในยุคสมัยดังกล่าวจึงได้มีอาคารต่างๆ ที่ไม่เคยมีใน แผ่นดินสยามเกิดขึ้นมากมาย
แผนการจัดระบบเมืองส่วนหนึ่ง อันเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้การคมนาคมของกรุงเทพ แปรเปลี่ยนไป นั่นคือการขุดคูคลองรอบกรุง ซึ่งในยุคนั้นกรุงเทพฯ เรามีคลองน้อยใหญ่มากมายจนต่างชาติให้ฉายาว่าเป็นเวนิสตะวันออก และ เมื่อมีคูคลองเกิดขึ้น ก็ยอมต้องมีการสร้างสะพานขึ้นตามเพื่อให้สะดวกแก่ประชาชนในการสัญจรตามไป ด้วย
ที่ เกาะรัตนโกสินทร์ ตรงบริเวณหน้า กระทรวงมหาดไทยในปัจจุบันนั้น มีสะพานที่สร้างขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 5 อยู่หลายสะพาน เพื่อใช้คร่อมคูน้ำก็มีอยู่ไม่น้อย และ ที่คลองคูเมืองเดิมที่ขุดมาตั้งแต่สมัย ต้นรัตนโกสินทร์นั้น พระพุทธเจ้าหลวงก็ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานขึ้น เพื่อให้ประชาราษฎร์ได้ใช้สัญจรไปมาได้ง่ายดายขึ้นด้วย โดยเฉพาะสะพานตรง กระทรวงมหาดไทยนั้น ก็มีการสร้างสะพานคร่อมคูเมืองเดิม ด้วยไม้ซุงที่หนา และใหญ่พอจะให้ช้างข้ามได้ ซึ่งการสร้างสะพานในยุคนั้น จะใช้มาตรวัดจากการเดินผ่านของช้างได้ และสะพานพวกนี้ก็มักจะถูกเรียกกันว่าเป็นสะพานช้างแทบทั้งสิ้น แต่สะพานช้างข้ามนี้ ตั้งอยู่ ในย่านที่เป็นย่านโรงสีข้าว ชาวบ้านจึงเรียกสะพานนี้ว่า สะพานช้างโรงสีกันจนชิน

มา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน ในปี พ.ศ.2518 ทางกรุงเทพมหานคร ได้ปรับจากสะพานไม้ซุงเดิมให้เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อปูน เพื่อสร้างความแข็งแกร่ง และ ขยายสะพานให้เป็นไปตามผังเมืองในยุคนั้น โดยคงรูปแบบเดิมของเสา และ โครงสร้างสะพานแบบเดิมไว้ และที่ปลายสะพานก็มีการปั้นรูปหัวสุนัข อันหมายถึงปีจอ ซึ่งเป็นปีที่สร้างไว้ที่หัวราวสะพาน

0 comments:

Blog Archive